หน้าแรก

วันอาทิตย์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2559

แนวข้อสอบเทคนิคการแพทย์



  1. สิ่งส่งตรวจที่นิยมนำมาตรวจวัดการเปลี่ยนแปลงระดับของสารมากที่สุด คืออะไร
  • Urine ค. celebro spinal fluid
  • synovial fluid ง. whole blood
ตอบ   ง. whole blood
  1. เลือดดำ เป็นเลือดที่นิยมส่งตรวจวัดปริมาณสารทั่ว ๆ ไปทางเคมีคลินิกเพราะอะไร
  • การเจาะเส้นเลือดดำค่อนข้างยาก และมีอันตราย
  • การเจาะเลือดดำทำได้ยาก แต่มีความปลอดภัย
  • การเจาะเลือดดำทำได้ง่ายกว่ากว่าการเจาะเส้นเลือดแดงซึ่งมีอันตราย
  • สารในเลือดดำจะสะท้อนให้เห็นถึงสารอาหารต่างๆ ที่นำไปเลี้ยงเซลล์
ตอบ    ค. การเจาะเลือดดำทำได้ง่ายกว่ากว่าการเจาะเส้นเลือดแดงซึ่งมีอันตราย
  1. เลือดดำถูกนำมาวิเคราะห์หาค่าของสารต่างๆ ได้กี่รูปแบบ
  • 2 แบบ                                       ค.  4   แบบ
  • 3 แบบ                                       ง.  แบบเดียว
ตอบ    ข. 3   แบบ    
  1. สิ่งส่งตรวจที่ได้จากการปล่อยให้เลือดรวมแข็งตัวที่อุณหภูมิห้องแล้วจึงนำไปปั่นแยกเม็ดเลือดแดงออก คือสิ่งส่งตรวจชนิดใด
  • serum ค. capillary blood
  • plasma ง. venous blood
ตอบ   ก. serum      
  1. กรณีใดที่มีความจำเป็นต้องใช้ตัวอย่างที่เป็นเลือดจากเส้นเลือดแดง
  • การตรวจวัดปริมาณก๊าซในเลือด ค. การตรวจวัดปริมาณสารตะกั่ว
  • การตรวจหาไซยาไนด์ ง. การตรวจหาอัลกอฮอล์
ตอบ  ก. การตรวจวัดปริมาณก๊าซในเลือด
  1. น้ำไขสันหลัง เป็นสิ่งส่งตรวจที่นิยมส่งหลังตรวจวัดปริมาณสารใด
  • ไขมัน โปรตีน                               ค. โปรตีน  น้ำตาล
  • น้ำตาล ไขมัน                                                   ง. วิตามิน    น้ำตาล
ตอบ   ค. โปรตีน  น้ำตาล
  1. ปัสสาวะที่ใช้ในการตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิกอาจแบ่งออกเป็นกี่ลักษณะ
  • ลักษณะเดียว ค. 3  ลักษณะ
  • 2 ลักษณะ                                                           ง. 4  ลักษณะ
ตอบ   ข.2   ลักษณะ
  1. ของเหลวที่ได้จากการกรองพลาสมาผ่านเซลล์โดยอาศัยปัจจัยทางกลศาสตร์ คืออะไร
  • น้ำไขข้อ ค. Transudate และ exudate Transudate
  • น้ำไขสันหลัง ง. synovial fluid
ตอบ   ค. Transudate และ exudate Transudate
  1. ข้อใด ไม่ใช่ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อค่าในสิ่งส่งตรวจ
  • เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน ค. อายุ
  • การรับประทานอาหาร ง. เพศ
ตอบ   ง. เพศ
  1. สิ่งที่ผู้เก็บตัวอย่างเลือดมีความจำเป็นต้องทราบก่อนลงมือปฏิบัติงาน คืออะไร
  • เทคนิคการเจาะเลือด ค. ปริมาณเลือดที่ต้องการ
  • ตำแหน่งที่เจาะ ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ   ง. ถูกทุกข้อ
  1. การเจาะเส้นเลือดดำควรให้ผู้ที่จะถูกกเจาะเลือดอดอาหารอย่างน้อยกี่ชั่วโมง
  • 10 ชั่วโมง                                    ค. 6  ชั่วโมง
  • 8 ชั่วโมง                                    ง.  3  ชั่วโมง
ตอบ    ค. 6  ชั่วโมง
  1. การเจาะผิวหนังเพื่อเก็บเลือดจากเส้นเลือดฝอยนิยมใช้ในกรณีใด
  • ใช้เลือดจำนวนน้อยในการตรวจวิเคราะห์
  • ใช้เลือดจำนวนมากในการตรวจวิเคราะห์
  • ใช้เมื่อจำเป็นที่สุด
  • ใช้เมื่อแพทย์เห็นสมควร
ตอบ   ก. ใช้เลือดจำนวนน้อยในการตรวจวิเคราะห์
  1. ข้อควรระวังในการเจาะผิวหนัง คืออะไร
  • ควรนวดบริเวณผิวหนังที่จะเจาะก่อนเพื่อให้เลือดไหลออกได้ดี
  • เลือกใช้สารฆ่าเชื้อที่เหมาะสมและไม่รบกวนการตรวจวิเคราะห์
  • ควรปล่อยให้สารฆ่าเชื้อแห้งสนิทก่อนเจาะผิวหนังด้วยใบมีดเจาะ
  • ถูกทุกข้อ
ตอบ   ง. ถูกทุกข้อ
  1. การเก็บรักษาสิ่งส่งตรวจ เพื่อเป็นการรักษาค่าของสารในซีรัมไม่ให้เปลี่ยนแปลงไปก่อนการวิเคราะห์ ควรแยกซีรัมออกจากเม็ดเลือดแดงภายในเวลากี่ชั่วโมง
  • 1 ชั่วโมง                                     ค. 3  ชั่วโมง
  • 2 ชั่วโมง                                     ง. 4  ชั่วโมง
ตอบ    ข. 2  ชั่วโมง
  1. สิ่งที่ควรทราบจากการเก็บปัสสาวะแบบกำหนดเวลาคือข้อใด
  • เลือกใช้ชนิดสารกันเสียที่ถูกต้องในปริมาณที่พอเพียง
  • ควบคุมการเก็บปัสสาวะให้ตรงเวลาและครบปริมาตร
  • ต้องเลือกใช้ภาชนะเก็บที่สะอาดและมีขนาดพอเพียงที่จะบรรจุปัสสาวะ
  • ถูกทุกข้อ
ตอบ   ง. ถูกทุกข้อ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น