- 1669 คือหมายเลขอะไร
- สถานีอนามัย
- โรงพยาบาลชุมชน
- หน่วยพยาบาลใกล้บ้าน
- หน่วยแพทย์ฉุกเฉิน กู้ชีพ
ตอบ ง. หน่วยแพทย์ฉุกเฉิน กู้ชีพ
- หมายเลขโทรศัพท์สำนักงานหลักประกันสุขภาพคือ
- 1330
- 1669
- 1930
- 1333
ตอบ ก. 1330
- ใครบ้างที่ต้องจ่ายเงินเข้าสบทบกองทุนประกันสังคม
- ผู้ประกันตน
- นายจ้าง
- รัฐบาล
- ถูกทุกข้อ
ตอบ ก. ถูกทุกข้อ
- ประกันสังคมจ่ายในกรณีใดบ้าง
- คลอดบุตร
- ทำฟัน
- อุบัติเหตุ
- ถูกทุกข้อ
ตอบ ก. ถูกทุกข้อ
- ผู้ป่วยเบาหวานจำแนกเป็นกี่ประเภท
- 1 ประเภท ข. 2 ประเภท
ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท
ตอบ ข. 2 ประเภท
- ข้อใดไม่ใช่อาการของวัณโรค
- เจ็บแน่นหน้าอก
- มีไข้ต่ำๆ ตอนบ่ายหรือเย็น
- เหนื่อยอ่อนเพลีย
- อาเจียนเป้นเลือด
ตอบ ง. อาเจียนเป้นเลือด
- อีโคไล เป็นเชื้อชนิดใด
- ไวรัส
- แบคทีเรีย
- ชื้อโรค
- ถูกทุกข้อ
ตอบ ข. แบคทีเรีย
- ไข้หวัดนก 2009 คือเชื้อโรคชนิดใด
- H2O
- H1N1
- H2N1
- H3N0
ตอบ ข. H1N1
- วันอนามัยโลกคือวันใด
- 1 กันยายน
- 7 เมษายน
- 5 กรกฎาคม
- 7 สิงหาคม
ตอบ ข. 7 เมษายน
- สารในเลือดที่มีหน้าที่นำออกซิเจนคืออะไร
- พลาสมา
- เกล็ดเลือด
- เฮโมโกลบิน
- ไฟบริโนเจน
ตอบ ง. ไฟบริโนเจน
- หลอดเลือดอะไรที่ผนังบางมากประกอบด้วยเซลล์ชั้นเดียว
- หลอดเลือดดำ
- หลอดเลือดฝอย
- หลอดน้ำเหลือง
- หลอดเลือดแดง
ตอบ ค. หลอดน้ำเหลือง
- เกล็ดเลือดช่วยให้เลือดแข็งตัวในกรณีใด
- เลือดจางเกินไป
- เลือดออกมีบาดแผล
- เลือดขาดวิตามินเค
- เลือดขาดเม็ดโลหิตขาว
ตอบ ก. เลือดจางเกินไป
- การนับปริมาณอะไรในเลือดที่บอกให้ทราบว่ามีการติดเชื้อเกิดขึ้น
- น้ำตาล
- เกล็ดเลือด
- เม็ดเลือดขาว
- เม็ดเลือดแดง
ตอบ ง. เม็ดเลือดแดง
- ในเลือด 1 ลูกบาศก์มิลลิเมตรจะมีเม็ดเลือดแดงประมาณเท่าใด
- 5 พันเม็ด
- 5 ล้านเม็ด
- 5 แสนเม็ด
- 5 หมื่นเม็ด
ตอบ ง. 5 หมื่นเม็ด
- ชีพจรในผู้ใหญ่จะเต้นกี่ครั้งต่อนาทีในภาวะปกติ
- 72 ครั้ง
- 100 ครั้ง
- 120 ครั้ง
- 125 ครั้ง
ตอบ ง. 125 ครั้ง
- ท่านอ่านพบคำว่า การแพร่ มาหลายครั้งแล้ว เช่น ก๊าซออกซิเจนแพร่ เข้าสู่เส้นเลือดฝอย คำว่า แพร่ นี้มีความหมายอย่างไร ถ้ามีการแพร่ของสารเกิดขึ้น
- จากบริเวณที่มีสารมากไปสู่บริเวณที่มีสารอยู่น้อย
- จากบริเวณที่มีสารอยู่น้อย ไปสู่บริเวณที่มีสารอยู่มาก
- จากบริเวณที่มีสารขนาดใหญ่ไปสู่บริเวณที่มีสารขนาดเล็ก
- จากบริเวณที่มีสารขนาดเล็กไปสู่บริเวณที่มีสารขนาดใหญ่
ตอบ ง. จากบริเวณที่มีสารขนาดเล็กไปสู่บริเวณที่มีสารขนาดใหญ่
- การหายใจเขียนเป็นสมการได้
C6 H12 O 6 + O2 H2O + C2O + พลังงาน
ในสมการนั้น CO2 และ H2O คืออะไรตามลำดับ
- น้ำและก๊าซออกซิเจน
- น้ำและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
- ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ
- ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และออกซิเจน
ตอบ ง. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และออกซิเจน
- ปริมาณความเข้มข้นของอะไรในเลือดที่กำหนดอัตราเร็วของการหายใจ
- ไอน้ำ
- ก๊าซออกซิเจน
- ก๊าซไนโตรเจน
- ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ตอบ ง. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
- เครื่องบินเมื่อบินในระดับสูง นักบินจะหายใจไม่สะดวก เพราะอะไร
- ที่ระดับสูงมีไอน้ำน้อย
- ที่ระดับสูงมีออกซิเจนน้อย
- ที่ระดับสูงมีฝุ่นละอองมาก
- ที่ระดับสูงมีคาร์บอนไดออกไซด์มาก
ตอบ ก. ที่ระดับสูงมีไอน้ำน้อย
- เมื่อเป่าลมหายใจลงในน้ำปูนใส น้ำปูนใสจะขุ่นแสดงว่าลมหายใจออกมีอะไร
- ก๊าซมีเทน
- ก๊าซออกซิเจน
- ก๊าซคาร์บอนไดซัลไฟด์
- ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ตอบ ง. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
- เมื่อนำลมหายใจออกมาตรวจวิเคราะห์จะพบว่าลมหายใจออกไม่ใช่จะมีแต่ก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ ยังมีก๊าซอะไรออกมาด้วย
- ออกซิเจน,ไนโตรเจน
- คาร์บอนไดซัลไฟด์,ไอน้ำ
- คาร์บอนมอนอกไซด์,ไอน้ำ
- คาร์บอนมอนอกไซด์,แอมโนเมีย
ตอบ ง. คาร์บอนมอนอกไซด์,แอมโนเมีย
- นักดำน้ำจะต้องโผล่ขึ้นมาหายใจเหนือน้ำหลังจากดำไปประมาณ 2 นาที เพราะเหตุใด
- สำลักน้ำ
- เพื่อให้ตาชินกับแสง
- เพื่อรับก๊าซออกซิเจนไปชดเชย
- เพื่อนำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทิ้งไป
ตอบ ข. เพื่อให้ตาชินกับแสง
- ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เมื่อรวมกับน้ำจะได้อะไร
- กรดเกลือ
- กรดแอซิติก
- กรดซัลฟุริก
- กรดคาร์บอนิก
ตอบ ง. กรดคาร์บอนิก
- ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์ที่ผ่านการหายใจมาแล้ว ส่วนใหญ่มากับอะไรในเส้นเลือดฝอย
- พลาสมา
- เม็ดเลือดขาว
- เม็ดเลือดแดง
- เม็ดน้ำเหลือง
ตอบ ง. เม็ดน้ำเหลือง
- เพราะเหตุใดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (ของเสียจากการหายใจที่เซลล์) จึงไม่มากับพลาสมา
ทั้งหมด
- เพราะพลาสมาเข้มข้นเกินไป
- เพราะพลาสมาไม่มีน้ำมากพอ
- เพราะก๊าซดังกล่าวไม่ละลายน้ำ
- เพราะจะทำให้เกิดกรดเป็นอันตราย
ตอบ ง. เพราะจะทำให้เกิดกรดเป็นอันตราย
- การไหลเวียนของเลือดผ่านไตเป็นอย่างไร
ก. เส้นเลือดแดงใหญ่ – ไต – เส้นเลือดดำใหญ่
- เส้นเลือดดำใหญ่ – ไต – เส้นเลือดแดงใหญ่
- เส้นเลือดดำใหญ่ – เส้นเลือดแดงใหญ่ – ไต
- เส้นเลือดแดงใหญ่ – เส้นเลือดดำใหญ่ – ไต
ตอบ ข. เส้นเลือดดำใหญ่ – ไต – เส้นเลือดแดงใหญ่
- ร่างกาย จะดูดสารกลับคืนในกรณีต้องการใช้สารนั้น การดูดสารกลับคืนนี้เกิดตอนไหน
- ตอนเป็นเลือด
- ก่อนผ่านหน่วยไต
- ผ่านหน่วยไตมาแล้วมาถึงท่อหน่วยไต
- ตอนเป็นน้ำปัสสาวะในกระเพาะปัสสาวะ
ตอบ ค. ผ่านหน่วยไตมาแล้วมาถึงท่อหน่วยไต
- ปริมาณสารในปัสสาวะเกิดขึ้นจาก การกรองที่หน่วยไตและอะไรอีกอย่างหนึ่ง เมื่อผ่านการกรองแล้ว
- การย่อย
- การดื่มน้ำ
- การเติมน้ำ
- การดูดกลับคืน
ตอบ ก. การย่อย
- หน่วยไตสามารถกรองสารโปรตีนออกจาดกเลือดได้ 20 กรัม ต่อ 100 cm3 แต่ในน้ำปัสสาวะกลับไม่มีสารโปรตีน สารดังกล่าวหายไปไหน
- ทำปฏิกิริยาหมดไป
- ถูกนำไปทิ้งทางอื่น
- ถูกดูดกลับคืนเข้าในเลือด
- สลายตัวกลายเป็นคาร์บอเนต
ตอบ ง. สลายตัวกลายเป็นคาร์บอเนต
- การตรวจน้ำตาลในปัสสาวะ จะใช้สารอะไรตรวจได้
- ใช้วิธีเผาหาตะกอน
- สารละลายเบเนดิกต์
- สารละลายแอมโมเนีย
- ใช้สารละลายคอปเปอร์ซัลเฟต
ตอบ ง. ใช้สารละลายคอปเปอร์ซัลเฟต
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น